เรื่องน่าสนใจ
สัมผัสความสุขแต่ละเส้นทางที่คุณสนใจ ผ่านบทความ คลิปวีดีโอ การร่วมกิจกรรม เพื่อให้คุณได้เข้าถึงความสุขจากการรู้จักความจริง
Deep Listening : ฟังกันอย่างเมตตากรุณา
ปัญหาใหญ่ของมนุษย์ทุกวันนี้ก็คือ “ไม่มีใครฟังใคร” ทุกคนล้วนแย่งกันพูด ถึงแม้จะฟังก็ฟังแบบแกนๆผ่านๆ หูซ้ายทะลุหูขวา ไม่มีใครใจเย็นพอที่จะฟังใครอย่างลึกซึ้งเพื่อความเข้าใจอย่างแท้จริง ทั้งๆที่ผู้ที่ตกอยู่ในห้วงทุกข์ต่างก็ต้องการระบายความทุกข์ที่อัดอั้นเก็บกด และหวังว่าจะมีใครสักคนที่รับฟังเขาอย่างมีเมตตากรุณา โดยไม่ตำหนิติด่า และไม่ต้องยัดเยียดความคิดใดๆทั้งสิ้น
สุนทรียสนทนา : ชนะร่วมกันอย่างสมานฉันท์
แม้ว่า “การสนทนา” คือชีวิตประจำวันของผู้คนส่วนใหญ่ แต่หลายต่อหลายครั้งมันกลับไม่ได้เป็นไปอย่าง “สุนทรียะ” ซึ่งมักนำมาสู่ความขัดแย้งแตกคอ และแตกแยก หรือแม้แต่เกิดการห่างเหินเย็นชา รากเหง้าแห่งปัญหาก็คือ “ตัวตน” ที่ห่อหุ้มภายในใจของแต่ละคน เช่น การยึดมั่นถือมั่นในชนชั้น ฐานะ ตำแหน่ง วัยวุฒิ สังกัด หรือแม้แต่ความเชื่อส่วนบุคคล (ศาสนา การเมือง
ยิงธนู : บรรลุธรรม
คุณประโยชน์ของการ “ยิงธนู” คืออะไร ? ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เล่าให้ฟังว่า… เมื่อไม่นานมานี้ได้ศึกษาอย่างจริงจัง พบว่า การออกกำลังกายด้วยการยิงธนูช่วยกระตุ้นให้เลือดไปเลี้ยงสมอง แก้อาการไหล่ติด ลดอาการปวดไหล่ อีกทั้งยังช่วยคลายพังผืดที่กล้ามเนื้อสะบักด้านหลังจากการนั่งทำงานหน้าคอมพิวเตอร์นาน ๆ เพราะขณะง้างธนู ต้องใช้กล้ามเนื้อบริเวณสะบัก จึงช่วยบริหารร่างกายได้ (ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ เคยทำงานเป็นวิศวกรในองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ
ไทชิบำบัด : Tai Chi Therapy อ่อนช้อย เนิบนาบชีวิตสมดุล
“ไทชิ” (หรือที่บ้านเรานิยมเรียกว่า “ไทเก๊ก” ผู้ให้กำเนิดมวยไท่เก๊กคือนักบวชจางซานฟง ซึ่งมีชีวิตอย่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 12-14) ซึ่งเป็นที่ทราบกันว่าวิชาเพลงมวยโบราณของประเทศจีน อันมีการเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่อง ผ่อนคลาย นุ่มนวล และโอนอ่อน แม้ว่าจัดเป็นศิลปะการต่อสู้ก็ตาม แต่ด้วยความผ่อนคลายสุขุมและโดดเด่นด้วยคุณสมบัติในการบำบัดโรคทางกายและใจ(mind-body therapy) จึงเป็นที่นิยมแก่ผู้คนทั่วทั้งโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้สูงวัยทั้งหลาย
Sufi Whirling : ลมวนตื่นรู้เจริญสติ
Sufi (ซูฟี หรือ เมฟลาน่า) คือบุคคลผู้เป็นที่ยกย่องศรัทธาของชนชาวเปอร์เซียในช่วงศตวรรษที่ 13 ในฐานะกวีเอก, นักกฎหมาย, นักเทววิทยา และนักเต้น “ลมวน” (Whirling) การเต้นลมวน (Whirling) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ “เซม่า” อันเป็น สัญลักษณ์สัญลักษณ์ของการเดินทางผ่านความรักเพื่อยกระดับจิตวิญญาณให้เข้าถึงพระเจ้า
โยคะ : เพื่อสมดุลแห่งกาย – จิต และวิญญาณ
โยคะ คือศาสตร์โบราณที่มีต้นกำเนิดจากประเทศอินเดีย ซึ่งสั่งสมองค์ความรู้มานานนับพันปี (หลักฐานเก่าแก่ที่สุดคือไม้แกะสลักและศิลปะปูนปั้นรูปการฝึกโยคะเมื่อราว 2,000 ปีก่อนคริสตศักราช โดยนักโบราณคดีพบที่หุบเขาอินดัสวอลเลย์ ซึ่งอยู่ในดินแดนปากีสถานในปัจจุบัน)
เดินวิถีแห่งสติ : ทุกก้าวย่างอย่างตื่นรู้
เราควรฝึกสติทุกๆ วันและทุกๆ ชั่วโมง ประโยคนี้ดูจะพูดง่าย แต่ตอนปฏิบัติจริงไม่ใช่ของง่ายเลย ด้วยเหตุนี้ครูจึงเสนอแนะผู้ที่มาเรียนฝึกสมาธิกับครูว่า ให้หาวันใดวันหนึ่งของสัปดาห์ เพื่ออุทิศให้กับการฝึกสติทั้งวันโดยเฉพาะ – ท่านติช นัท ฮันห์ (จากหนังสือ “ปาฏิหาริย์แห่งการตื่นอยู่เสมอ”) “การเดิน” คือ วิถีแห่งสติ ซึ่งไม่ใช่การเดินเร็วๆ หรือเร่งรีบ แต่เป็นการเดินช้าๆอย่างมั่นคง เดินอย่างมีสติมีสมาธิ
Aikido : ผนึกพลังอย่างสมดุล
คำว่า “ไอกิโด” มาจากตัวอักษร คันจิ 3 ตัว : 合 – Ai (ไอ) – ผนวก, เป็นอันหนึ่งอันเดียว 気 – Ki (คิ) – เลือดลม
ธรรมยาตรา : การดำเนินด้วยธรรม
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ธรรม ธรรมะ[ทํา ทํามะ] น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม คําสั่งสอนในศาสนาฯ ยาตร ยาตรา [ยาด, ยาดตฺรา] ก. เดิน, เดินเป็นกระบวน ธรรมยาตรา (ธรรม +